ตองยื่นคำขอใบแทน ใบอนุญาตผลิตอาหาร (แบบ อ.4) พรอมแนบหลักฐานใบแจ้งความว่า
ใบอนุญาตผลิตอาหารนั้นๆสูญหาย ที่ออกโดยสถานีตํารวจทองท ี่และเมื่อสํานักงาน
สาธารณสุขจังหวัดตราดอนุมัติ ใบแทนใบอนุญาตผลิตอาหารแลว จะตองชำระ
คาธรรมเนียมใบแทนใบอนญาตผลิตอาหาร ฉบับละ 500 บาท
วันจันทร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
ถาทําแบบ สบ.1, สบ.2, สบ.3, สบ.4, สบ.5, สบ.6 สญหาย ู จะตองยื่นแบบคําขอใหม หรือไม่
ไมตองยื่นแบบคําขอใหม ใหยื่นหนังสือเพื่อขอคัดสําเนาแบบ สบ. นั้นๆตอสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด พรอมแนบหลักฐานใบแจงความว่าแบบ สบ. นั้นๆสูญหาย ที่ออกโดยสถานีตํารวจทองที่ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
แบบคำขอและเอกสารในการขออนุญาตอาหาร สามารถขอไดที่ไหนบ้าง
สามารถขอรับคำขอ และเอกสารในการขออนุญาตอาหาร ไดจากศูนยบริการผลิตภัณฑสุขภาพเบ็ดเสร็จ (OSSC) สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด และสามารถ Download ได ที่นี่
วันพุธที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2557
ทำกะปิขายใส่กระปุก ต้องขอเลข อย. หรือไม่
ต้องขอเลข อย. เนื่องจากเป็ฯอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย จะต้องแสดงฉลากที่มีเลข อย. และรายละเอียดครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ Primary GMP ที่กำหนด หากฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 30,000 บาท และอาจถูกปรับสถานที่ผลิต ไม่เกิน 10,000 บาท อีกด้วย
รายละเอียดและเอกสารประกอบการขออนุญาต
ดูได้จาก : http://www.cptrathealth.blogspot.com/
โทรศัพท์ : 0 3951 1011 ต่อ 314-6 หรือ 08 6340 8906
E-mail : cptrathealth@gmail.com
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
การได้รับอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น สบ.3, สบ.5 และใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร (อ.18) จะต้องดำเนินการต่ออายุด้วยหรือไม่
แบบ สบ.3, สบ.5 และใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร (อ.18) เป็นใบอนุญาตที่มีอายุตลอดชีพ จึงไม่ต้องดำเนินการต่ออายุแต่อย่างใด แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ใบอนุญาตผลิตอาหารหรือใบอนุญาตนำเข้า หากขาดการต่ออายุ จะทำให้แบบ สบ.3, สบ.5 และใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร (อ.18) หมดอายุไปด้วย
รายละเอียดและเอกสารประกอบการขออนุญาต
ดูได้จาก : http://www.cptrathealth.blogspot.com/
โทรศัพท์ : 0 3951 1011 ต่อ 314-6 หรือ 08 6340 8906
E-mail : cptrathealth@gmail.com
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
หากได้รับแบบ สบ.1 โดยผู้รับอนุญาตเป็นบุคคลธรรมดาแล้วจะเปลี่ยนเป็นนิติบุคคลได้หรือไม่
ไม่ได้ เพราะการอนุญาตเกี่ยวกับอาหารเป็นสิทธิเฉพาะบุคคลตามใบทะเบียนพาณิชย์ ดังนั้น จึงไม่อาจโอนสิทธิ์ให้แก่กันได้ จะต้องยื่นขออนุญาตแบบ สบ.1 ใหม่ เมื่อได้รับอนุญาตให้ยกเลิก สบ.1 เดิม
รายละเอียดและเอกสารประกอบการขออนุญาต
ดูได้จาก : http://www.cptrathealth.blogspot.com/
โทรศัพท์ : 0 3951 1011 ต่อ 314-6 หรือ 08 6340 8906
E-mail : cptrathealth@gmail.com
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
ถ้าทำแบบ สบ.1, สบ.2, สบ.3, สบ.4, สบ.5 และ สบ.6 สูญหาย จะต้องยื่นแบบคำขอใหม่หรือไม่
ไม่ต้องยื่นแบบคำขอใหม่ ให้ยื่นหนังสือเพื่อขอคัดสำเนาแบบ สบ. นั้นๆ ต่อ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด พร้อมแนบหลักฐานใบแจ้งความว่า แบบ สบ.นั้นๆสูญหาย ที่ออกโดยสถานีตำรวจท้องที่ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
รายละเอียดและเอกสารประกอบการขออนุญาต
ดูได้จาก : http://www.cptrathealth.blogspot.com/
โทรศัพท์ : 0 3951 1011 ต่อ 314-6 หรือ 08 6340 8906
E-mail : cptrathealth@gmail.com
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
วันอังคารที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2557
หากต้องการแจ้งให้ตรวจสอบหรือร้องเรียนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่คาดว่าจะไม่ปลอดภัย สามารถแจงได้ที่หน่วยงานใด
แจ้งได้ที่ สายด่วน อย. หรือที่ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด
โทรศัพท์ : 0 3951 1011 ต่อ 314-6 หรือ 08 6340 8906
E-mail : cptrathealth@gmail.com
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
เมื่อ นาย ก ผู้รับอนุญาตผลิตน้ำดื่ม ต้องการเปลี่ยนชื่อผู้รับอนุญาต เป็น นาย ข จะต้องทำอย่างไร
นาย ก จะต้องแจ้งยกเลิกใบอนุญาตเดิม แล้วให้ นาย ข ดำเนินการ ขออนุญาตสถานที่ผลิตน้ำดื่มนั้นใหม่
สถานที่ผลิตอาหาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. สถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่ายโรงงาน (อ.1) ได้แก่ สถานที่ที่มีเครื่องจักร 5 แรงม้า หรือจำนวนคนงาน ตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป
2. สถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (สบ.1)
ขั้นตอนการขออนุญาตด้านอาหาร มี 2 ขั้นตอน ได้แก่
1. การขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหาร
2. การขออนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร (ขอเลขสารบบอาหาร หรือ เลข อย.)
1. การขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหาร
2. การขออนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร (ขอเลขสารบบอาหาร หรือ เลข อย.)
สถานที่ผลิตอาหาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. สถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่ายโรงงาน (อ.1) ได้แก่ สถานที่ที่มีเครื่องจักร 5 แรงม้า หรือจำนวนคนงาน ตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป
2. สถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (สบ.1)
รายละเอียดและเอกสารประกอบการขออนุญาต
ดูได้จาก : http://www.cptrathealth.blogspot.com/
โทรศัพท์ : 0 3951 1011 ต่อ 314-6 หรือ 08 6340 8906
E-mail : cptrathealth@gmail.com
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
จะขออนุญาตขายอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะบรรจุพร้อมจำหน่าย เช่น กะปิ ไข่เค็ม อาหารทะเลแห้ง ต้องยื่นขออนุญาตหรือไม่ อย่างไร
ต้องยื่นขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหาร ซึ่งมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้
สถานที่ผลิตอาหาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. สถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่ายโรงงาน (อ.1) ได้แก่ สถานที่ที่มีเครื่องจักร 5 แรงม้า หรือจำนวนคนงาน ตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป
2. สถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (สบ.1)
ขั้นตอนการขออนุญาตด้านอาหาร มี 2 ขั้นตอน ได้แก่
1. การขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหาร
2. การขออนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร (ขอเลขสารบบอาหาร หรือ เลข อย.)
1. การขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหาร
2. การขออนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร (ขอเลขสารบบอาหาร หรือ เลข อย.)
สถานที่ผลิตอาหาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. สถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่ายโรงงาน (อ.1) ได้แก่ สถานที่ที่มีเครื่องจักร 5 แรงม้า หรือจำนวนคนงาน ตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป
2. สถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (สบ.1)
รายละเอียดและเอกสารประกอบการขออนุญาต
ดูได้จาก : http://www.cptrathealth.blogspot.com/
โทรศัพท์ : 0 3951 1011 ต่อ 314-6 หรือ 08 6340 8906
E-mail : cptrathealth@gmail.com
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
facebook : งานคุ้มครองผู้บริโภค สสจ.ตราด
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)